สิงหาคม 2556

 

*       ‘Walk This Way’ Exhibition “เด็กกับความเสี่ยงในการเดินทาง”

 วันที่ 23 สิงหาคม 2556 - Safe Kids Thailand /CSIP  จัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับความปลอดภัยในการเดินทางของเด็ก เพื่อกระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมงานได้รับความรู้และเผยแพร่กิจกรรมของศูนย์วิจัยฯ จึงเป็นที่มาของโครงการผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง “เด็กกับความเสี่ยงในการเดินทาง” โดยเน้นการเดินทาง 3 เรื่องหลัก ได้แก่ รถจักรยานยนต์ (สาเหตุการตายอันดับ 1 ในหมวดอุบัติเหตุจราจร) รถโรงเรียน และเดินเท้า ซึ่งทั้ง 3 เรื่องนี้เป็นภัยความเสี่ยงที่คร่าชีวิตเด็กไทยจำนวนมาก ในขณะที่สังคมได้ให้ความสำคัญกับความก้าวหน้าทางวิทยาการขนส่งและเทคโนโลยีต่างๆ จึงมีความจำเป็นที่ต้องสะท้อนปัญหาการบาดเจ็บและเสียชีวิตที่เด็กไทยประสบอยู่ เพื่อให้สังคมได้ฉุกคิดและนำความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการขนส่งมาแก้ปัญหาเพื่อลดการบาดเจ็บและเสียชีวิตของเด็กๆ นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีที่แท้จริง

 

(นำเสนอในงานประชุม 6th ATRANS Symposium “Transport for a better life: Transport Infrastructure for better future” งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ 6 หัวข้อ “การขนส่งเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่ากับการพัฒนาโครงสร้างการขนส่งและการจัดการ”)

 

      

 

     

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

*       อบรมการใช้เครื่องมือสำรวจความเสี่ยงในชุมชน ‘Parent education’

วันที่ 25 สิงหาคม 2556 - Safe Kids Thailand /CSIP ร่วมกับ ชุมชนสุวรรณประสิทธิ์ 2 / ฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม กรุงเทพมหานคร จัดอบรมให้ความรู้ สำรวจจุดเสี่ยง สร้างความปลอดภัย เพิ่มพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชน ตลอดจนกำหนดแนวทางการดำเนินงานป้องกัน แก้ไข นำไปสู่ความปลอดภัยของเด็กและเยาวชน  โดยกลุ่มเป้าหมาย คือ คณะกรรมการชุมชน แกนนำชุมชน อาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำเยาวชน จำนวน 100 คน อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนสุวรรณประสิทธิ์2 เขตบึ่งกุ่ม กรุงเทพมหานคร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

*    โครงการ ‘PHOTOVOICE’  โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

 

PHOTOVOICE  คือ การประกาศด้วยภาพ เป็นสื่ออย่างหนึ่งที่สามารถสะท้อนและเปิดเผยให้เห็นถึงสภาพที่แท้จริงของสังคมที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน สามารถจุดประกายให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางนโยบายและทางสังคม โดยการมีส่วนร่วม มีการสื่อสาร และการจัดตั้งสมาชิกในชุมชน เด็ก ผู้ปกครอง ครู ได้มีส่วนร่วมในปัญหาเกี่ยวกับการเดินเท้าและร่วมหาหนทางแก้ปัญหานั้น  

เด็กๆ ได้แสดงบทบาทในการถ่ายภาพความเสี่ยงต่อการเดินเท้าในเส้นทางที่พวกเขาต้องเดินไป-กลับบ้านและโรงเรียน สิ่งที่ปรากฏคือ ความเสี่ยงต่อการเดินเท้าในเส้นทางที่เด็กต้องเดินผ่านทุกวัน ได้ถูกเปิดเผยให้สังคมรับรู้ด้วยภาพถ่าย  จึงเป็นที่มาของการนำภาพความเสี่ยงเหล่านั้นมาเผยแพร่สู่สาธารณชนและผู้เกี่ยวข้องต่างๆ  เพื่อจุดประกายให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนำไปสู่ความปลอดภัยต่อการเดินเท้าของเด็กๆ และขยายผลแนวทางการสร้างเสริมความปลอดภัยในกลุ่มเด็กเดินเท้า ตลอดจนทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

 

ขั้นตอน PHOTOVOICE

ภาคปฏิบัติที่1: ให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการเดินเท้า (Pedestrian Safety Education)

ภาคปฏิบัติที่ 2: การฝึกอบรมการถ่ายภาพ (Photography Training)

ภาคปฏิบัติที่ 3: การเรียนรู้นอกพื้นที่เพื่อการวิจัยเชิงสังเกตการณ์ในชุมชน ครั้งที่ 1 (Observational Research Field Trip in the Community)

ภาคปฏิบัติที่ 4: การเรียนรู้นอกพื้นที่เพื่อการวิจัยเชิงสังเกตการณ์ในชุมชน ครั้งที่ 2

(Second Observational Research Field Trip in the Community)

ภาคปฏิบัติที่ 5: การอภิปราย และการคัดเลือกภาพถ่าย (Discussion and Photo Selection)

ภาคปฏิบัติที่ 6: การอภิปราย และการคัดเลือกภาพถ่าย รอบสุดท้าย (Final Discussion and Photo Selection)

 

เส้นทางกิจกรรม PHOTOVOICE โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

ภาคปฏิบัติที่1: ให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการเดินเท้า (Pedestrian Safety Education)

 

  

Text Box: ฐาน แผนที่ตัวกวน..ชวนเดินปลอดภัย
(How to Walk Safely)
Text Box: ฐาน ข้ามอย่างไรจึงจะปลอดภัย ? 
(How to Cross Safely)

  

 

 

 


 

  

Text Box: ฐาน วาดแผนที่เส้นทางเดินจากบ้าน-โรงเรียน
(Follow a Child’s Step)
Text Box: นักเรียนทำแบบทดสอบความรู้และแบบสำรวจพฤติกรรม
(pre- and post- knowledge tests, and behavioral surveys)

  

 

 

 


 

Text Box: เด็กๆ สนุกสนานและมีทักษะการเดิน-ข้ามถนนปลอดภัย

  

 

 


 

ภาคปฏิบัติที่ 2: การฝึกอบรมการถ่ายภาพ (Photography Training)

 

Text Box: สอนการใช้กล้องถ่ายรูป และวิธีถ่ายภาพ
(Photography Training)
             

 

 

 

 

 

 

ภาคปฏิบัติที่ 3-4: การเรียนรู้นอกพื้นที่เพื่อการวิจัยเชิงสังเกตการณ์ในชุมชน (Observational Research Field Trip in the Community)

 

 

Text Box: เด็กๆ ถ่ายภาพจุดเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิด
อันตรายต่อเด็กเดินเท้า
Text Box: พี่เลี้ยงคอยแนะนำ และดูแลความปลอดภัยขณะถ่ายภาพ

  

 

 

 

 


 

ภาคปฏิบัติที่ 5-6: การอภิปราย และคัดเลือกภาพถ่าย (Discussion and Photo Selection)

 

Text Box: เด็กๆ เลือกภาพถ่ายที่คิดว่าเสี่ยงที่สุด 1 ภาพ และกรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์ม
สมาชิกทุกคนร่วมกันอภิปรายความเสี่ยงและเสนอวิธีแก้ไข  
นำภาพถ่ายจัดนิทรรศการให้ผู้เกี่ยวข้องได้ชม เพื่อจุดประกายทางความคิด
จัดประชุมแก้ไขจุดเสี่ยง เพื่อนำไปสู่การแก้ไขจุดเสี่ยง เพื่อเด็กๆ จะได้มีเส้นทางเดินไปกลับโรงเรียนอย่างปลอดภัย ลดการบาดเจ็บและเสียชีวิต
               

 


 

สรุป PHOTOVOICE (นักเรียน 10คน) โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง

(ถ่ายภาพเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2556)

ที่

ภาพ

ความเห็นเจ้าของภาพถ่าย

ความเห็นจากผู้ร่วมอภิปราย (นักเรียน 9คน)

1

 

 

เจ้าของภาพถ่าย

  • ด.ญ.ศศิธร หอมละออ (เบลล์) อายุ 9 ปี

ชั้น ป.4/2 โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

โทร.092-268 1704

ชื่อภาพ

  • “วางสิ่งของบนทางเดินหนู”

สถานที่ที่ถ่ายภาพ

  • ซอยข้างกำแพงโรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง

ภาพนี้เสี่ยงอย่างไร

  • “เด็กอาจโดนรถชน เพราะว่ามีของหรือเศษไม้อยู่บนฟุตบาท เลยต้องเดินออกมาบนถนนที่มีรถวิ่งผ่านไปมา”

ปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้นอย่างไร

  • “เก็บทำความสะอาดสิ่งของหรือเศษไม้ ไม่ให้วางอยู่ตรงทางเท้า”

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • “เจ้าของบ้าน เจ้าหน้าที่เทศบาล และคนในชุมชน”

แผนที่

 

 

 

 

แนวทางปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้น

  • เก็บทำความสะอาด
  • บอกคนในชุมชนให้ช่วย

 

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เจ้าของบ้าน
  • เจ้าหน้าที่

ที่

ภาพ

ความเห็นเจ้าของภาพถ่าย

ความเห็นจากผู้ร่วมอภิปราย (นักเรียน 9คน)

2

 

เจ้าของภาพถ่าย

  • ด.ญ.ณัฐวดี บุญตะคุ (เชียร์) อายุ 10 ปี

ชั้น ป.4/1 โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

ชื่อภาพ

  • “ซอยแยกที่น่ากลัว”

สถานที่ที่ถ่ายภาพ

  • ซอยสัมฤทธิ์ 1

ภาพนี้เสี่ยงอย่างไร

  • “เราเดินออกมาจากซอย เราอาจไม่เห็นรถ รถอาจชนเราได้ และมีเสาไฟฟ้าบังอยู่ด้วย”

ปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้นอย่างไร

  • “ติดตั้งกระจกกลมช่วยสะท้อนเวลารถมา เราจะได้มองเห็น และไม่เกิดอุบัติเหตุ”

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • “เทศบาลช่วยติดตั้งกระจกให้”

แผนที่

 

 

 

 

 

 

แนวทางปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้น

  • เทศบาลมาติดใกล้เสาไฟฟ้า
  • ติด 4 มุมเลย

 

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาลนครระยอง 
  • ประธานชุมชน

ที่

ภาพ

ความเห็นเจ้าของภาพถ่าย

ความเห็นจากผู้ร่วมอภิปราย (นักเรียน 9คน)

3

เจ้าของภาพถ่าย

  • ด.ช.ยศวริศ เจริญสุข (นิค) อายุ 11ปี

ชั้น ป.5/1 โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

ชื่อภาพ

  • “สามแยกอันตราย”

สถานที่ที่ถ่ายภาพ

  • หน้าโรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง

ภาพนี้เสี่ยงอย่างไร

  • “ตอนเช้า-เย็น มีเด็กนักเรียนเดินเยอะ และมีรถสัญจรมากมาย เด็กนักเรียนอาจโดนรถชน”

ปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้นอย่างไร

  • “ทำทางม้าลาย ให้ตำรวจมาจัดระเบียบ”

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาลของจังหวัดระยอง โรงเรียน นักเรียน

แผนที่

 

 

 

 

 

 

 

 

แนวทางปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้น

  • เทศบาลทำทางม้าลาย

 

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาล  
  • โรงเรียน

ที่

ภาพ

ความเห็นเจ้าของภาพถ่าย

ความเห็นจากผู้ร่วมอภิปราย (นักเรียน 9คน)

4

เจ้าของภาพถ่าย

  • ด.ช.วุฒิชัย โพธิกามล (ปังปอน) อายุ 11ปี

ชั้น ป.5/1 โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

โทร.087-9019169

ชื่อภาพ

  • “สี่แยกอันตราย”

สถานที่ที่ถ่ายภาพ

  • ซอยสัมฤทธิ์ 2

ภาพนี้เสี่ยงอย่างไร

  • “เสี่ยงเพราะมันเป็นสี่แยก มีรถขับขี่ไปมา เป็นมุมหักศอก คนมาทำให้มองไม่เห็น”

ปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้นอย่างไร

  • “เอากระจกนูนมาติด จะได้เห็นรถที่ผ่านไปมา”

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาล

แผนที่

 

 

 

 

 

 

 

แนวทางปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้น

  • ติดกระจก 4 มุม
  • ทำทางม้าลาย

 

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาล

ที่

ภาพ

ความเห็นเจ้าของภาพถ่าย

ความเห็นจากผู้ร่วมอภิปราย (นักเรียน 9คน)

5

เจ้าของภาพถ่าย

  • ด.ญ.ศิวนันท์ เที่ยงตรง (เนิส)  อายุ 10ปี

ชั้น ป.5/2  โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

โทร.083-7695311

ชื่อภาพ

  • “หลุมนี้อันตราย”

สถานที่ที่ถ่ายภาพ

  • ข้างหน้าเซเว่นก้นปึก

ภาพนี้เสี่ยงอย่างไร

  • “อาจมีเด็กเดินแล้วตกลงไปในหลุม เนื่องจากมีหลุมอยู่ตรงนั้น”

ปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้นอย่างไร

  • “ให้คนแถวนั้นเอาหินมาวางปิดไว้ หรือให้ช่างก่อสร้างเอาปูนมาถม”

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • คนในชุมชนแถวนั้น

แผนที่

 

 

 

 

 

 

 

 

แนวทางปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้น

  • ทำใหม่
  • เทศบาลนำปูนมาถม
  • ทำฝาปิด

 

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาล
  • คนในชุมชน
  • พ่อวุฒิชัย เนื่องจากทำงานรับเหมา

ที่

ภาพ

ความเห็นเจ้าของภาพถ่าย

ความเห็นจากผู้ร่วมอภิปราย (นักเรียน 9คน)

6

เจ้าของภาพถ่าย

  • ด.ญ.จุฑามาศ ศิริปี (ครีม)  อายุ 11ปี

ชั้น ป.5/2 โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

โทร.080-6321427 , 091-8023599

ชื่อภาพ

  • “ไม้กลางถนน”

สถานที่ที่ถ่ายภาพ

  • ซอย 2 ถนนสัมฤทธิ์

ภาพนี้เสี่ยงอย่างไร

  • “เสี่ยงเพราะถ้ารถผ่านมาอาจจะชนคนที่เดิน หรือรถอาจจะชนกันก็ได้”

ปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้นอย่างไร

  • “เอาไม้ออก และทำให้มันสะอาด”

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาลช่วยขนไม้ หรือทำความสะอาด

แผนที่

 

 

 

 

 

 

แนวทางปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้น

  • เอาไม้ออก และทำความสะอาด
  • ติดป้ายรณรงค์

 

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาล

 

ที่

ภาพ

ความเห็นเจ้าของภาพถ่าย

ความเห็นจากผู้ร่วมอภิปราย (นักเรียน 9คน)

7

เจ้าของภาพถ่าย

  • ด.ญ.ณัฐณิชา สมินเย (เจน)  อายุ 12ปี

ชั้น ป.6/1 โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

ชื่อภาพ

  • “ต่างระดับพื้นถนน”

สถานที่ที่ถ่ายภาพ

  • โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง

ภาพนี้เสี่ยงอย่างไร

  • “พื้นถนนขรุขระ พื้นถนนต่างระดับกัน อาจทำให้สะดุดหรือหกล้ม”

ปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้นอย่างไร

  • “ควรแจ้งให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาทราบเพื่อจะได้ปรับปรุงสถานที่”

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • ผู้อำนวยการสถานศึกษา

แผนที่

 

 

 

 

 

 

 

 

แนวทางปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้น

  • แจ้งผู้อำนวยการ
  • เทพื้นใหม่

 

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • โรงเรียน
  • นักเรียนทุกคน

 

ที่

ภาพ

ความเห็นเจ้าของภาพถ่าย

ความเห็นจากผู้ร่วมอภิปราย (นักเรียน 9คน)

8

เจ้าของภาพถ่าย

  • ด.ญ.ชลธิชา ชัยมงคล (เฟิร์น)  อายุ 13ปี

ชั้น ป.6/1 โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

ชื่อภาพ

  • “หลุมอุบัติภัย”

สถานที่ที่ถ่ายภาพ

  • กลางสนาม ในโรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง

ภาพนี้เสี่ยงอย่างไร

  • “อาจทำให้หกล้มได้ เพราะบริเวณนี้มีเด็กเคยหกล้มเนื่องจากชอบใช้บริเวณนี้เล่นกีฬาต่างๆ”

ปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้นอย่างไร

  • “อยากให้คุณครูนำไปเสนอ ผอ.โรงเรียน เพื่อที่จะให้ ผอ. หางบนำมาพัฒนาพื้นที่ เช่น ทาปูนถมทับที่ๆ มีหลุม”

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • ครู ผอ.โรงเรียน เทศบาล และอีกหลายๆ หน่วยงาน

แผนที่

 

 

 

 

 

 

 

แนวทางปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้น

  • เสนออาจารย์ ให้อาจารย์ไปของบจากรัฐมาช่วย

 

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • รัฐ

ที่

ภาพ

ความเห็นเจ้าของภาพถ่าย

ความเห็นจากผู้ร่วมอภิปราย (นักเรียน 9คน)

9

เจ้าของภาพถ่าย

  • ด.ญ.นิสาชล วันยาเล (นุช)  อายุ 12ปี

ชั้น ป.6/2 โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

ชื่อภาพ

  • “หัวโค้งอันตรายต่อประชาชน”

สถานที่ที่ถ่ายภาพ

  • ซอยข้างกำแพงโรงเรียน

ภาพนี้เสี่ยงอย่างไร

  • “รถหรือคนมองไปไม่เห็นรถ อาจชนกันได้ และอาจชนเด็กนักเรียนได้อีกด้วย”

ปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้นอย่างไร

  • เอากระจกหัวโค้งมาติดตั้ง

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาล โรงเรียน ตำรวจ ครู นักเรียน

แผนที่

 

 

 

 

 

 

 

แนวทางปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้น

  • ติดตั้งกระจก
  • คนเดินหลบรถ

 

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาล
  • ชุมชน

ที่

ภาพ

ความเห็นเจ้าของภาพถ่าย

ความเห็นจากผู้ร่วมอภิปราย (นักเรียน 9คน)

10

เจ้าของภาพถ่าย

  • ด.ญ.ชมพู่ ใหม่ (ชมพู่)  อายุ 13ปี

ชั้น ป.6/2 โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง จ.ระยอง

ชื่อภาพ

  • “ระวังอันตรายจากกิ่งไม้อันน้อยนิด”

สถานที่ที่ถ่ายภาพ

  • ซอยสัมฤทธิ์

ภาพนี้เสี่ยงอย่างไร

  • “มีกิ่งไม้วางทับทางเดิน เวลาคนเดินอาจจะเกิดอันตรายได้เพราะไม่มีทางเดิน เวลารถมาอาจจะถูกเฉี่ยวได้”

ปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้นอย่างไร

  • “ควรเอากิ่งไม้ออกจากบริเวณนั้นให้หมด”

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาล

แผนที่

 

แนวทางปรับปรุง/แก้ไขให้ปลอดภัยขึ้น

  • เอาออกไปจะได้มีถนนสวนทางกัน
  • ช่วยกันเอาไปทิ้ง

 

ใครบ้างที่รับผิดชอบปรับปรุง/แก้ไข

  • เทศบาล

 

 


 

สำรวจและจัดทำแผนปรับแก้จุดเสี่ยงเส้นทางเดินบริเวณโรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง

ณ โรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง 

 

 

            ทีมงาน SAFE KIDS THAILAND ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก พร้อมด้วย อ.ชาญณรงค์ ไวยพจน์ ประธานอนุกรรมการวิศวกรรมความปลอดภัย สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย, ป้ามล, แกนนำชุมชน, ผู้อำนวยการและครูโรงเรียนเทศบาลบ้านปากคลอง ร่วมกันลงสำรวจพื้นที่และจุดเสี่ยงจากภาพถ่าย PHOTOVOICE ที่ถ่ายทอดโดยนักเรียน และหารือร่วมกันเกี่ยวกับแผนแก้ไขจุดเสี่ยง โดยที่ อ.ชาญณรงค์ ไวยพจน์ เป็นผู้ออกแบบการแก้ไขโดยยึดหลักโครงสร้างทางวิศวกรรมจราจร  

 

 

Text Box: ทางม้าลายมีสีจาง
(บริเวณปากทางเข้าโรงเรียน)

  

 

 


 

Text Box: จุดเสี่ยง – เสาไฟฟ้าแทบทุกต้นมีสายไฟที่ไม่เก็บปลายให้เรียบร้อย เด็กอาจจับแล้วไฟดูดได้
Text Box: จุดเสี่ยง – เสาไฟฟ้าตรงเส้นทางเดิน พบว่า มีความลาดเอียง 15 องศา (ซอยสุเหร่า3) 
                                    

 

 

Text Box: ประชุมหารือร่วมกัน
 

 

 

Text Box: ทีมงานและป้ามล เข้าพบนายกเทศมนตรีนครระยอง เพื่อหารือและขอคำปรึกษาจากท่าน  ซึ่งท่านยินดีให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่

 

 

 

 

 

 

 

 

                                           (ร่าง) ออกแบบแผนแก้ไขจุดเสี่ยง